Besucherstatistiken
หลักและวิธีการในการเขียนแบบของแต่ละบุคคล อาจแตกต่างกันตามความถนัด และการฝึกฝน วิธีการในเว็บไซต์นี้อาจจะไม่ได้ดีที่สุด แต่เป็นวิธีการที่ได้จากการศึกษาด้วยตนเองจากสื่อต่าง ๆ และนำมาประยุกต์ใช้ อาจแตกต่างออกไปตามความเข้าใจ ขอให้ท่านเลือกเอาวิธีการที่ท่านเข้าใจ เพราะในการเขียนวัตถุสิ่งเดียวกัน อาจเกิดจากการใช้คำสั่งที่ไม่เหมือนกันก็ได้ แต่ผลลัพธ์เป็นสิ่งที่มองเห็นอย่างเดียวกัน จึงขึ้นอยู่กับการเรียนรู้และฝึกฝนจนชำนาญในการใช้คำสั่งต่างๆ ที่จะทำให้เกิดวัตถุที่มองเห็นเหมือนกัน หรือจุดประสงค์ในการนำไปใช้ประโยชน์อาจจะแตกต่างกัน ทำให้การเขียนไม่จำเป็นต้องใช้หลักการตรงตามหลักการเขียนแบบทุกอย่าง เช่น การเขียนแบบติดตั้งไฟฟ้า จุดประสงค์ในการเขียนเพื่อให้ผู้อ่านทราบว่า จะต้องติดตั้งอุปกรณ์อะไร มีคุณสมบัติ ลักษณะอย่างไร ติดตั้งตรงไหน เป็นต้น
คำอธิบายรายวิชาตามหลักสูตร ปวส.2563
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการเขียนแบบแปลนพื้นงานทางด้านโยธา
เขียนแบบงานทางไฟฟ้าและสื่อสาร การอ่านแบบต่าง ๆ
การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการเขียนแบบไฟฟ้าและสื่อสาร ที่สอดคล้องกับงานทางด้านโยธา
องค์ประกอบของแบบระบบไฟฟ้า การใช้งาน External Reference การ Plot โดยใช้ Layout การใช้ Visual LISP ในงานเขียนแบบ
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นในการเขียนแบบไฟฟ้า
- ประเภทของแบบไฟฟ้า
- ส่วนประกอบของแบบติดตั้งไฟฟ้า
หน่วยที่ 2 โปรแกรมเขียนแบบไฟฟ้า
- โปรแกรม AutoCAD 2016
การติดตั้งโปรแกรม AutoCAD 2018
การติดตั้ง AutoCAD Classic ใน Version 2016
การติดตั้ง AutoCAD Classic ใน Version 2017-2022
การเซ็ตโปรแกรมให้กลับคืนเหมือนตอนติดตั้งใหม่
- ดาวน์โหลดโปรแกรม หรือ
- โปรแกรม Microsoft Visio
หน่วยที่ 3 การเขียนแบบแปลนอาคารด้วย AutoCAD 2016
- พื้นฐานการใช้ AutoCAD
- การตั้งค่าเบื้องต้นของโปรแกรม
การตั้งค่าเบื้องต้นก่อนการเขียนแบบ
การสร้างไฟล์ต้นแบบ วิดีโอ
- การใช้คีย์ลัดใน AutoCAD
- คำสั่งเบื้องต้นในการเขียนแบบไฟฟ้า
- การใช้ Layers ในการเขียนแบบแปลนอาคาร
- การเขียนแบบแปลนอาคาร
การสร้างเสา
การสร้างเสาด้วยคำสั่ง Array
การสร้างประตู
- การสร้างประตูแบบละเอียด
- การสร้างประตูบานคู่
- ดาวน์โหลดโปรแกรม หรือ
- โปรแกรม Microsoft Visio
หน่วยที่ 3 การเขียนแบบแปลนอาคารด้วย AutoCAD 2016
- พื้นฐานการใช้ AutoCAD
- การตั้งค่าเบื้องต้นของโปรแกรม
การตั้งค่าเบื้องต้นก่อนการเขียนแบบ
การสร้างไฟล์ต้นแบบ วิดีโอ
- การใช้คีย์ลัดใน AutoCAD
- คำสั่งเบื้องต้นในการเขียนแบบไฟฟ้า
- การใช้ Layers ในการเขียนแบบแปลนอาคาร
- การเขียนแบบแปลนอาคาร
การสร้างเสา
การสร้างเสาด้วยคำสั่ง Array
การสร้างประตู
- การสร้างประตูแบบละเอียด
- การสร้างประตูบานคู่
การสร้างบล็อคผนังยืดได้
การแทรกแบบแปลนบ้านจากไฟล์ pdf
หน่วยที่ 4 การเขียนแบบไฟฟ้าด้วย AutoCAD 2016
- การเขียนแบบติดตั้งไฟฟ้า
การเขียนแบบสัญลักษณ์ไฟฟ้า
การปรับรูปแบบตัวอักษร
การเขียนตารางอักษรด้วยโปรแกรม Excel
การสร้างบล็อคสัญลักษณ์ต่างๆ ไว้ใช้ภายหลัง
การเปลี่ยนมาตราส่วนของแบบ
การเขียนแบบ
การลงดวงโคมบนแปลน
- การเขียนแบบวงจรควบคุมมอเตอร์
- การเขียนแบบไฟฟ้าจากไฟล์ภาพ
- การเขียนแบบวงจรไฟฟ้า
- การปรับเส้นบอกขนาด
- ปัญหาในการใช้โปรแกรม AutoCAD
- ความรู้การใช้ Visual LISP ในงานเขียนแบบ
หน่วยที่ 4 การเขียนแบบไฟฟ้าด้วย AutoCAD 2016
- การเขียนแบบติดตั้งไฟฟ้า
การเขียนแบบสัญลักษณ์ไฟฟ้า
การปรับรูปแบบตัวอักษร
การเขียนตารางอักษรด้วยโปรแกรม Excel
การสร้างบล็อคสัญลักษณ์ต่างๆ ไว้ใช้ภายหลัง
การเปลี่ยนมาตราส่วนของแบบ
การเขียนแบบ
การลงดวงโคมบนแปลน
- การเขียนแบบวงจรควบคุมมอเตอร์
- การเขียนแบบไฟฟ้าจากไฟล์ภาพ
- การเขียนแบบวงจรไฟฟ้า
- การปรับเส้นบอกขนาด
- ปัญหาในการใช้โปรแกรม AutoCAD
- ความรู้การใช้ Visual LISP ในงานเขียนแบบ