แบบทดสอบกิจกรรมกลุ่มคุณภาพ by ครูตุ้ง กรกฎาคม 06, 2559 แบบทดสอบเรื่อง .กิจกรรมกลุ่มคุณภาพ.. จำนวน ..20. ข้อ วิชา.การบริหารงานคุณภาพในองค์การ ระดับ ปวส. เรื่อง .กิจกรรมกลุ่มคุณภาพ.. จำนวน ..20. ข้อ โดย ครูชลิต พานทอง วิทยาลัยสารพัดช่างพิจิตร คำสั่ง เลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุด ข้อที่ 1) 1. การทำงานตามขั้นตอนการจัดการ PDCA ด้วยการตรวจสอบผลคุณลักษณะด้านคุณภาพเปรียบเทียบกับเป้าหมายที่จัดตั้งไว้ เรียกว่า ขั้นตอนการวางแผน ขั้นตอนการลงมือปฏิบัติตามแผน ขั้นตอนการตรวจสอบผลการปฏิบัติตามแผน ขั้นตอนการแก้ไขปรับปรุงข้อบกพร่อง ข้อที่ 2) ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ที่ได้รับจากการนำวงจร PDCA ไปใช้ ลดความสูญเสียในการผลิตสินค้า ลดค่าใช้จ่ายในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ ทำความเข้าใจและลงมือปฏิบัติตามแผนที่ได้วางไว้ พนักงานมีขวัญและกำลังใจดีทำให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ ข้อที่ 3) Plan-Do-Check-Act มีความหมายตรงกับข้อใด วงจรคุณภาพ วงจรเดมมิ่ง วงจรเพิ่มผลผลิต วงจรระบบบริหารงานคุณภาพ ข้อที่ 4) Deming Cycle มีความหมายเหมือนกับข้อใด วงจร PDCA วงจร ISO 9001 วงจรกิจกรรมคุณภาพ วงจรกิจกรรม 5 ส ข้อที่ 5) กิจกรรมกลุ่ม Quality Control Circle : QCC หมายถึง กลุ่มตรวจสอบผลผลิต หรือที่เรียกว่าระบบคิวซี กลุ่มพนักงานที่รวมตัวกัน เพื่อให้สนิทสนม เข้าใจกัน จะได้ทำงานประสานกัน กลุ่มพัฒนางาน กลุ่มสร้างคุณภาพงาน การทำกิจกรรมฝึกอบรมระบบตรวจสอบคุณภาพงานและตำแหน่ง ไม่มีรูปแบบการเขียนที่แน่นอนชัดเจน ข้อที่ 6) ข้อใดไม่ใช่วัตถุประสงค์ของการจัดทำกิจกรรมกลุ่มคุณภาพ เพื่อยกระดับความรู้ความสามารถของพนักงานในทุกระดับ เพิ่มความสัมพันธ์อันดีระหว่างกลุ่มพนักงานทุกระดับ เป็นการสร้างจิตสำนึกในการปรับปรุงคุณภาพงาน เพิ่มความสะดวกสบายและความปลอดภัยในการทำงาน ข้อที่ 7) ข้อใดไม่ใช่วัฒนธรรมร่วมขององค์กร TQM ไม่เปิดโอกาสให้ทุกคนมีส่วนร่วม การรับรู้ "ต้นทุนแห่งคุณภาพ" อย่างกว้างขวาง การมองให้เป็นกระบวนการหรือมองให้เห็นภาพรวม การสร้างผลลัพธ์ให้เป็นรูปธรรม ข้อที่ 8) ข้อใดไม่จัดอยู่ในกลุ่มกิจกรรม 5 ส. สะสาง สะดวก สุขลักษณะ สุขสม ข้อที่ 9) ข้อใดไม่ใช่ กระบวนการของการบริหารงานคุณภาพ Input Process Output ลูกค้า นโยบาย ผลกำไร ปัจจัยนำเข้า การดำเนินงาน ผลงาน ความต้องการของลูกค้า กระบวนการดำเนินงาน ความพึงพอใจของลูกค้า ข้อที่ 10) การปฏิบัติงานตามข้อใดที่ทำให้พนักงานมีการปรับปรุงงานอย่างต่อเนื่อง การทำกิจกรรม 5 ส การปฏิบัติงานตามระเบียบวิธี P D C A การปฏิบัติงานตามใบสั่งจากผู้บังคับบัญชา มีหน่วยปรับปรุงการทำงานอยู่ในองค์กร ข้อที่ 11) คุณภาพของสินค้าโดยทั่วไปหมายถึงข้อใด สินค้าที่ไม่มีข้อบกพร่อง สินค้าที่เหนือกว่าคู่แข่งขัน สินค้าที่ลูกค้าต้องการ สินค้าที่ผู้ผลิตเป็นผู้กำหนดขึ้นเอง ข้อที่ 12) เพื่อการเข้าสู่ระบบมาตรฐาน ISO 14000 องค์กรควรดำเนินการจรรยาบรรณด้านใด ความรับผิดชอบต่อลูกค้า ความรับผิดชอบต่อผู้ร่วมลงทุน ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม ความรับผิดชอบด้านความปลอดภัย ข้อที่ 13) แนวทางการนำกิจกรรม 5 ส เข้าใช้งานในข้อใด ควรดำเนินการเป็นลำดับแรก จัดตั้งคณะกรรมการ 5 ส กำหนดมาตรฐานกิจกรรม 5 ส จัดฝึกอบรมความรู้การทำกิจกรรม 5 ส ผู้บริหารระดับสูงประกาศนโยบาย 5 ส ข้อที่ 14) กิจกรรม 5 ส. ประกอบด้วยกิจกรรมตามลำดับดังข้อใด สะสาง สะดวก สะอาด สุขลักษณะ สุขภาพ สะสาง สะดวก สะอาด สุขลักษณะ สร้างนิสัย สะสาง สะดวก สะอาด สุขลักษณะ สุขจิต สะสาง สะดวก สะอาด สุขลักษณะ สุขสดใส ข้อที่ 15) ขั้นตอนการทำกิจกรรม สะดวก ของกิจกรรม 5 ส เพื่อการจัดการรักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อย คือ จัดเก็บเป็นหมวดหมู่มีป้ายระบุชัดเจนและจัดแยกตามความบ่อยในการใช้งานและจัดให้ ดำเนินกิจกรรม ส1-ส4 และปฏิบัติตามกฎข้อบังคับหน่วยงานอย่างเคร่งครัด การทำความสะอาดทั่วไป ขจัดสาเหตุความสกปรกและจัดแบ่งเขตพื้นที่รับผิดชอบ ดำเนินกิจกรรม สะสาง สะดวก สะอาด อย่างต่อเนื่องและมีการปรับปรุงให้ดีขึ้น ข้อที่ 16) ข้อใดคือความหมายของการควบคุมคุณภาพทั้งองค์กร QCC TQM TQC TPM ข้อที่ 17) ความสำเร็จของการบริหารที่มุ่งเน้นคุณภาพทั้งองค์การ (TQM) ขึ้นอยู่กับปัจจัยข้อใด ลูกค้า ทุกคนมีส่วนร่วม การเปลี่ยนแปลง การปรับปรุงโดยต่อเนื่อง ข้อที่ 18) ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบหลัก 7 ประการ ในการนำ TQM ไปใช้ให้ประสบความสำเร็จ ภาวะผู้นำของผู้บริหาร (leadership) การได้รับการศึกษาและการอบรมของบุคลากร (education and training) การมุ่งบริการลูกค้า การทำงานเป็นทีม (teamwork) ข้อที่ 19) ข้อใดเป็นการนำแนวคิด TQM ไปใช้ในหน่วยงาน ด้านการปรับพฤติกรรมการบริหาร มุ่งให้ความสำคัญกับผู้บังคับบัญชา การบริหารแบบทุกคนมีส่วนร่วม การให้ความสำคัญแก่ผู้รับบริการ การให้ความสำคัญแก่เพื่อนร่วมงาน ข้อที่ 20) ระบบ TQC/TQM นำเสนอใช้ครั้งแรกเป็นแนวคิดของใคร ดร. ไฟเกนบาวน์ ดร. จูแรน ดร. เดลมิ่ง ดร. อิรอส จำนวนผู้เยี่ยมชมหน้านี้ บทความที่ใหม่กว่า บทความที่เก่ากว่า หน้าแรก
ความคิดเห็น