ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

วงจร R - L อนุกรม

จำนวนผู้เยี่ยมชมหน้านี้
             
             การต่อวงจรความต้านทานและตัวเหนี่ยวนำอนุกรมกัน จะทำให้คุณสมบัติต่างๆ ของวงจรเป็นดังนี้


รูปแบบของวงจร R – L อนุกรม

จากวงจรด้านบน เราสามารถหาค่าต่างๆ ได้ดังนี้ 

1.       จากวงจรก่อนจะหาค่าอื่นๆ เราต้องหาค่าอินดักทีพ รีแอคแตนซ์ (XL) ก่อน จากสูตร
  XL = 2pfL
       = 2 x 3.14 x 50 x 32 x 10-3
       = 10 Ð90°       (มุมของ XL เป็น 90 องศาเสมอ)

2.       หาค่าอิมพีแดนซ์ ( Z )
3.       หาค่ากระแสที่ไหลในวงจร
( มุมของแรงดัน หากไม่ได้บอกไว้ แสดงว่ามีค่าเป็น 0 องศา )

4.       หาค่า VR (แรงดันตกคร่อมความต้านทาน)
หาได้จากสูตร
VR  = IR
      = 9.84 Ð-26.6°  x 20 Ð0° 
     = 196.8 Ð-26.6°  V

5.       หาค่า VL (แรงดันตกคร่อมตัวเหนี่ยวนำ)
หาได้จากสูตร
VL  = IXL
      = 9.84 Ð-26.6°  x 10 Ð90° 
     = 98.4 Ð63.4°  V

6.       เพาเวอร์แฟคเตอร์ เท่ากับ cosq


7.       กำลังไฟฟ้าในวงจร

กำลังไฟฟ้าปรากฏS = EI
                           = 220 x 9.84
                           = 2,164.8 VA  

กำลังไฟฟ้าจริง,      P = EIcosq
                                   = 220 x 9.84 x cos26.6°
                           = 220 x 9.84 x 0.895
                           = 1,937.5 W

กำลังไฟฟ้าต้านกลับ  Q   = EIsinq
                                         = 220 x 9.84 x sin26.6°
                                = 220 x 9.84 x 0.448
                                = 970 VAR

8.       นำค่าต่าง ๆ ที่คำนวณได้มาเขียนเป็นเวกเตอร์  ได้ดังนี้


จากรูปแวกเตอร์ของวงจร R – L อนุกรม เราจะสังเกต ได้ดังนี้

1.   VR และ I  จะอยู่เฟสเดียวกัน ( มีมุมเท่ากัน )
2.   I จะตามหลัง  E เท่ากับมุม  q
3.   VR จะตามหลัง VL  และจะทำมุมกัน 90 องศา
4.   ผลรวมของ VR และ VL จะมีค่าเท่ากับแรงดันที่จ่าย  คือ E

จากการหาค่าต่างๆ ในวงจร เรานิยมทำให้ค่าต่าง ๆ อยู่ในจำนวนเชิงซ้อนรูปแบบเชิงขั้ว (Polar Form)

    

ความคิดเห็น