การต่อวงจรความต้านทานและตัวเหนี่ยวนำขนานกัน สามารถหาคุณสมบัติต่างๆ ของวงจรได้ดังนี้
ลักษณะการต่อวงจร R
– L ขนาน
การต่อวงจรความต้านทานและตัวเหนี่ยวนำขนานกัน
สามารถหาคุณสมบัติต่างๆ ของวงจรได้ดังนี้
จากวงจร
จงหาค่า
1. กระแสที่ไหลผ่าน R,
L และกระแสทั้งหมด
2. มุมของเฟส (
q
)
3. เพาเวอร์แฟคเตอร์
( pf )
4. กำลังไฟฟ้าจริง ( P
) กำลังไฟฟ้าปรากฏ ( S
) และกำลัง ไฟฟ้าต้านกลับ ( Q
)
5.
เขียนเฟสเซอร์ไดอะแกรมของแรงดันและกระแส
โดยปกติก่อนที่เราจะหาค่าต่างๆ ได้
จะต้องเริมต้นด้วยค่าพื้นฐานของวงจรก่อน ซึ่งถ้าเป็นวงจรแบบขนานในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับเราจะนิยมหาคุณสมบัติของวงจรเป็นค่าความนำของโหลด
ซึ่งในวงจรนี้ คือค่า
G = ความนำไฟฟ้า (คอนดักแตนซ์)
BL = ความนำเชิงซ้อนของขดลวด (อินดักทีฟ ซัสเซฟแตนซ์)
และ Y = ความนำทั้งหมดของวงจร (แอดมิดแตนซ์)
ซึ่งสามารถหาค่าได้ดังนี้
เมื่อหาคุณสมบัติความนำของวงจรได้แล้วก็เริ่มหาคุณสมบัติต่างๆ
ของวงจรได้ดังนี้
1.
หากระแสของวงจร
กระแสที่ไหลผ่านความต้านทาน R
IR =
EG = 50Ð20°
X 0.02Ð0°
=
1Ð20°
A
กระแสที่ไหลผ่านตัวเหนี่ยวนำ L
IL = EBL
= 50Ð20° X 0.0265Ð-90° = 1.325Ð-70° A
กระแสทั้งหมดของวงจร
It =
EY = 50Ð20°
X 0.0332Ð-53°
=
1.66Ð-33°
A
4.
หากำลังไฟฟ้าจริง ( P
) กำลังไฟฟ้าปรากฏ ( S
) และกำลังไฟฟ้าต้านกลับ ( Q
)
S = EIt = 50 X 1.66 = 83 VA
P = EItcosq =
50 X 1.66 X 0.602 = 50 W
Q = EIt sinq = 50 X 1.66 X sin53°
= 50 X 1.66 X 0.798 = 66 VAR
5.
เขียนเฟสเซอร์ไดอะแกรมของแรงดันและกระแส
จากรูปแวกเตอร์ของวงจร
R
– L ขนาน เราจะสังเกต ได้ดังนี้
1. IR
และ E
จะอยู่เฟสเดียวกัน ( มีมุมเท่ากัน )
2. It จะตามหลัง E
เท่ากับมุม q
3. IL
จะตามหลัง IR และจะทำมุมกัน 90 องศา
4. ผลรวมของ
IR
และ IL
จะมีค่าเท่ากับกระแสทั้งหมด คือ It
ความคิดเห็น