ค่าอิมพีแดนซ์ หมายถึง ค่าความต้านทานรวมทั้งหมด ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ มีหน่วยเป็น โอห์ม
เขียนสัญลักษณ์ แทนด้วย
Z
การหาค่าอิมพีแดนซ์ สามารถหาได้จากลักษณะการต่อวงจร 2 แบบ คือ
1. วงจรอนุกรม
2. วงจรขนาน
ซึ่งโดยปกติ การหาค่า Z หรือค่าอิมพีแดนซ์ จะใช้ในการคำนวณค่าต่าง ๆ ในวงจรอนุกรม
ส่วนวงจรขนาน จะนิยมหาค่า Y หรือค่า แอดมิตแตนซ์ ของวงจรแทน แล้วแปลงกลับมาเป็นค่า อิมพีแดนซ์
1. การหาค่าอิมพีแดนซ์ ในวงจรอนุกรม
1. วงจรอนุกรม
2. วงจรขนาน
ซึ่งโดยปกติ การหาค่า Z หรือค่าอิมพีแดนซ์ จะใช้ในการคำนวณค่าต่าง ๆ ในวงจรอนุกรม
ส่วนวงจรขนาน จะนิยมหาค่า Y หรือค่า แอดมิตแตนซ์ ของวงจรแทน แล้วแปลงกลับมาเป็นค่า อิมพีแดนซ์
1. การหาค่าอิมพีแดนซ์ ในวงจรอนุกรม
1.1 ในรูปแบบ Rectangular Form สามารถหาค่าได้จากสูตร
1.2 ในรูปแบบ Polar Form สามารถหาค่าได้จากสูตร
โดยปกติ ในวงจรขนาน เราจะหาค่า Y ในรูปแบบ Polar Form
เรียบร้อยแล้วจึงกลับเป็นค่า Z
หรือสามารถหาได้จากการหาค่า XL และ XC แบบวงจรอนุกรม แล้วเปลี่ยนไปหาค่ากระแสที่ไหลแต่ละสาขา หาค่ากระแสรวมทั้งหมด แล้วนำกระแสรวมไปหารแรงดันทั้งหมดที่จ่าย เพื่อหาค่าอิมพีแดนซ์ก็ได้ ตามตัวอย่าง
Z = R + jXL – jXC
1.2 ในรูปแบบ Polar Form สามารถหาค่าได้จากสูตร
เมื่อ
Z = อิมพีแดนซ์
R = รีซิสแตนซ์ ( Resistance ) = ค่าความต้านทาน มีหน่วยเป็น โอห์ม
XL = อินดักทีฟ รีแอคแตนซ์ ( Inductive Reactance ) = ค่าความต้านทานเชิงซ้อนของขดลวด มีหน่วยเป็น โอห์ม
XC = คาปาซิทิฟ รีแอคแตนซ์ ( Capacitive Reactance ) = ค่าความต้านทานเชิงซ้อนของตัวเก็บประจุ มีหน่วยเป็น โอห์ม
ข้อสังเกตุ มุมของ R จะอยู่ในตำแหน่ง 0 องศาเสมอ
มุมของ XL จะอยู่ในตำแหน่ง 90 องศาเสมอ
มุมของ XC จะอยู่ในตำแหน่ง - 90 องศาเสมอ
หากค่า XL มากกว่า XC มุมของ อิมพีแดนซ์ จะเป็น +
หากค่า XC มากกว่า XL มุมของ อิมพีแดนซ์ จะเป็น -
ค่า XL และ XC สามารถนำมาลบกันได้เลยเนื่องจากมีเฟสตรงกันข้ามกัน
มุมของ XL จะอยู่ในตำแหน่ง 90 องศาเสมอ
มุมของ XC จะอยู่ในตำแหน่ง - 90 องศาเสมอ
หากค่า XL มากกว่า XC มุมของ อิมพีแดนซ์ จะเป็น +
หากค่า XC มากกว่า XL มุมของ อิมพีแดนซ์ จะเป็น -
ค่า XL และ XC สามารถนำมาลบกันได้เลยเนื่องจากมีเฟสตรงกันข้ามกัน
เราสามารถเขียนเวกเตอร์ ของค่าอิมพีแดนซ์ และค่าต่างๆจากการคำนวณ ได้ดังนี้
จากแวกเตอร์ด้านบน หาเราวิเคราะห์จากภาพ จะพบว่า
1. ความต้านทานในวงจร จะมีอยู่ 2 ส่วน คือ
- ความต้านทานจริง คือ R จะมีมุมเท่ากับ 0°
- ความต้านทานเชิงซ้อน จะมี 2 ค่า คือ XL จะมีมุมเท่ากับ 90° และ XC จะมีมุมเท่ากับ -90°
2. ค่า XL และ XC ให้นำมาหักล้าง (ลบ) กันได้เลย ก็จะเหลือเป็นค่า X ส่วนมุมจะมีค่าเท่ากับค่าที่มากกว่า
3. เมื่อ นำค่า XL และ XC มาลบกันเหลือเป็นค่า X (รีแอคแตนซ์) แล้ว จึงนำมารวมกับค่าความต้านทาน R โดยต้องรวมกันทางแวกเตอร์ ได้เป็นค่า Z (อิมพีแดนซ์)
4. มุมของค่า Z ขึ้นอยู่กับผลรวมของ ค่า XL และ XC
- หาก ค่า XL มากกว่า XC มุมจะเป็น บวก
- หาก ค่า XL น้อยกว่า XC มุมจะเป็น ลบ
หมายเหตุ การหาค่ามุมของอิมพีแดนซ์ โดยใช้โปรแกรม Calculator ในคอมพิวเตอร์ มีวิธีการดังนี้
1. เปิดโปรแกรม Calculator > view > Scientific
( การเปิดโปรแกรมหากหาไม่เจอ ให้ไปที่ Search และพิมพ์ Calculator และคลิ๊กเลือก โปรแกรมจะปรากฎขึ้นมา )
2. กด 40 - 60
กด =
กด / (หาร)
กด 30
กด =
จะได้คำตอบประมาณ - 0.67
3. กด Inv
กด =
กด / (หาร)
กด 30
กด =
จะได้คำตอบประมาณ - 0.67
3. กด Inv
4. กด tan-1
5. จะได้คำตอบออกมาเป็นค่ามุม ของอิมพีแดนซ์ ประมาณ - 34 องศา
หรือหาได้จากโปรแกรมเครื่องคิดเลขออนไลน์ ที่นี่
2. วงจรขนาน
ในวงจรขนาน เราจะหาเป็นค่า แอดมิตแตนซ์ ( Y ) หรือค่าความนำรวมของวงจร เมื่อได้ค่า Y แล้วจึงจะกลับมาเเป็นค่า Z
2.1 ในรูปแบบ Rectangular Form สามารถหาค่า Y ได้จากสูตร
2.2 ในรูปแบบ Polar Form สามารถหาค่าได้จากสูตร
2. วงจรขนาน
ในวงจรขนาน เราจะหาเป็นค่า แอดมิตแตนซ์ ( Y ) หรือค่าความนำรวมของวงจร เมื่อได้ค่า Y แล้วจึงจะกลับมาเเป็นค่า Z
Z = 1 / Y
Y = G + jBC – jBL
เมื่อ
Y = แอดมิตแตนซ์ ( Admidtance ) คือค่าความนำรวมของวงจร
G = คอนดักแตนซ์ ( Conductance ) = 1 / R
BL = อินดักทีฟ ซัซเซฟแตนซ์ ( Inductive Susceptance ) = 1 / XL
BC = คาปาซิทีฟ ซัซเซฟแตนซ์ ( Capacitive Susceptance ) = 1 / XC
โดยปกติ ในวงจรขนาน เราจะหาค่า Y ในรูปแบบ Polar Form
เรียบร้อยแล้วจึงกลับเป็นค่า Z
หรือสามารถหาได้จากการหาค่า XL และ XC แบบวงจรอนุกรม แล้วเปลี่ยนไปหาค่ากระแสที่ไหลแต่ละสาขา หาค่ากระแสรวมทั้งหมด แล้วนำกระแสรวมไปหารแรงดันทั้งหมดที่จ่าย เพื่อหาค่าอิมพีแดนซ์ก็ได้ ตามตัวอย่าง
ความคิดเห็น