ในการวิเคราะห์วงจร R-L-C ขนาน เราสามารถวิเคราะห์จากการหาค่ากระแสในส่วนต่างๆ เหมือนกับการหาค่า ตามวงจร Pure R, L และ C เนื่องจากการต่อวงจรขนาน วงจรแต่ละส่วนจะแยกออกจากกัน เราจึงสามารถแยกการคำนวณกระแสออกเป็นวงจรต่างหาก และนำมารวมกันภายหลังได้ จากนั้นจึงนำค่ากระแสรวมของวงจร ไปหาค่าอื่นๆ ต่อไปตามขั้นตอน ดังนี้
กระแสส่วนที่ไหลผ่านโหลดต่าง ๆ 3 ตัว คือ
1. กระแสที่ไหลผ่านโหลด R เราสามารถหาได้จาก สูตร
= 50 Ð30° / 20 Ð0°
= 2.5 Ð30° A
IR = EG
= 2.5 Ð30° A
2. กระแสที่ไหลผ่านโหลด
L เราสามารถหาได้ เมื่อ โหลดมีค่าเป็นความต้านทานเชิงซ้อนของขดลวด ( XL
) สังเกตจากหน่วย เป็นโอห์ม
หากมีหน่วยเป็น H หรือ mH แสดงว่าเป็นค่า
L ให้เปลี่ยนเป็นค่า XL ก่อน
ค่า XL หาได้จากสูตร
XL = 2pfL (ค่า L ต้องมีหน่วยเป็น H )
แทนค่าจากวงจร f = 60 Hz, L = 40 x 0.001 H ลงในสูตร
= 15.07 W
IL
= E / XL
= 50 Ð30° / 15.07 Ð90°
= 3.32 Ð-60° A
หรือหาได้จาก
IL
= EBL
= 3.32 Ð-60° A
3. กระแสที่ไหลผ่านโหลด C เราสามารถหาได้ เมื่อ โหลดมีค่าเป็นความต้านทานเชิงซ้อนของตัวเก็บประจุ ( XC ) สังเกตจากมีหน่วย เป็นโอห์ม หากมีหน่วยเป็น mF แสดงว่าเป็นค่า C ให้เปลี่ยนเป็นค่า XC ก่อน
ค่า XC
หาได้จากสูตร
XC = 1 / 2pfC (ค่า C ต้องมีหน่วยเป็น F )
แทนค่าจากวงจร f =
60 Hz, C = 100 x 0.000,001
F ลงในสูตร
XC
= 1 / (2 x 3.14 x 60 x 100 x 0.000,001)
= 1 / 0.03768
=
26.54 Ð-90° W
จากนั้นนำค่า XC
ที่ได้ ไปหาค่ากระแสที่ไหลผ่านโหลด C ( IC ) ซึ่งสามารถหาได้จาก สูตร
IC
= E / XC
= 50 Ð30° / 26.54 Ð-90°
= 1.88 Ð120° A
ขั้นตอนที่ 2
เมื่อได้ค่ากระแสครบ 3 ตัว คือ IR , IL และ IC แล้ว
จะสามารถหาค่า IX ได้ ด้วยการนำ IL และ IC ซึ่งเป็นกระแสที่เกิดจากความต้านทานเชิงซ้อนของโหลด ซึ่งจะมีเวกเตอร์ไปในทิศทางตรงข้ามกัน จึงสามารถนำมาบวกกันได้แบบตัวเลขธรรมดาได้เลย โดยให้กระแส IC เป็นตัวตั้ง ลบด้วยค่า IL ( เนื่องจาก IC จะมีเฟสเป็นบวก และ IL มีเฟสเป็นลบ ผลในทางไฟฟ้าจึงเกิดการหักล้างกัน )
หากผลลัพธ์ได้เป็นบวก ค่า มุมของ IX จะมีมุมเท่ากับค่ามุมของ IC
หากผลลัพธ์ได้เป็นลบ ค่า มุมของ IX จะมีมุมเท่ากับค่ามุมของ IL
ตามมุมของกระแสตัวที่มากกว่า จึงมีการแสดงคุณสมบัติเป็นอุปกรณ์ตัวนั้น
ส่วนขนาดของค่ากระแสจะมีค่าเป็นบวกเสมอ
ภาพแสดงแวกเตอร์ของกระแสต่างๆ ในวงจร R-L-C ขนาน ของวงจรด้านบน
ดังนั้น จากขั้นตอนที่ 1 สามารถคำนวนค่า IX ได้ดังนี้
IX = IC - IL
เมื่อได้ค่ากระแส IX แล้ว เราจึงนำไปรวมกับค่ากระแส IR ได้ค่ากระแสทั้งหมด IT แต่ไม่สามารถนำมารวมกันแบบเลขธรรมดาได้ เนื่องจาก เวกเตอร์ของ IR และ IX ทำมุมกัน 90° จึงต้องบวกกันโดยใช้หลักการของทฤษฎีบทพีธากอรัส ดังนี้
ค่าขนาดของกระแสทั้งหมด จะเท่ากับ
ค่ามุมของกระแสทั้งหมดเทียบกับ IR จะมีค่าเท่ากับ
\ IT = 2.88 Ð0.06° A
หรือเราอาจหาได้จาก การแปลงรูปจำนวนเชิงซ้อน
IR = 2.5 Ð30° A แปลงให้อยู่ในรูปเรกเทนกูล่า ฟอร์ม = 2.165 + j1.25
IX = 1.44 Ð-60° A แปลงให้อยู่ในรูปเรกเทนกูล่า ฟอร์ม = 0.72 - j1.247
นำค่าทั้งสองมาบวกกันได้
IT = (2.165 + 0.72) + j(1.25 - 1.247)
= 2.885 + j0.003
แปลงกลับไปอยู่ในรูปโปล่าฟอร์มเหมือนเดิม จะได้
ขั้นตอนที่ 5
เมื่อเราทราบค่ากระแสรวมทั้งหมดของวงจร เราก็สามารถนำค่ากระแสทั้งหมดมาคำนวณหาความต้านทานรวมทั้งหมดของวงจร หรือค่าอิมพีแดนซ์ ( Z )ได้จากสูตร
Z = E / IT
= 50 Ð30° / 2.88 Ð-29.94°
= 17.36 Ð59.94° W
ขั้นตอนที่ 6
หาค่า cosq , sinq และค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์ ( PF ) กรณีเราไม่มีเครื่องคิดเลขหาค่า
สามารถหาได้จาก
สามเหลี่ยมของกระแส ดังนี้
cosq
=
IR / IT
= 2.5
/ 2.88
= 0.868
sinq = IX / IT
= 1.44 / 2.88
= 0.5
PF = cosq
= 0.868
ขั้นตอนที่ 7
หาค่ากำลังไฟฟ้าของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ ซึ่งจะมีอยู่ 3 ชนิด คือ
1. กำลังไฟฟ้าปรากฎ หาได้จาก
= 144 VA
P = EITcosq
= 144 X 0.868
= 125 W
3. กำลังไฟฟ้าต้านกลับ หาได้จาก
Q = EITsinq
= 144 X 0.5
= 72 VAR
ความคิดเห็น