ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

ทฤษฎีบทพีทาโกรัส

จำนวนผู้เยี่ยมชม



                 จากทฤษฎีบทพีทาโกรัส สามารถนำมาใช้ประโยชน์ทางด้านไฟฟ้า โดยใช้สำหรับการคำนวณค่าทางไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ ซึ่งจะมีความสัมพันธ์กันในรูปแบบเวกเตอร์ 3 ค่า และสามารถเขียนเป็นรูปเฟสเซอร์ไดอะแกรมได้อยู่ในรูปแบบสามเหลี่ยมมุมฉาก ดังทฤษฎีบทพีทาโกรัส  จึงทำให้ค่าทางไฟฟ้าที่สัมพันธ์กันดังกล่าว สามารถคำนวณหาค่าได้โดยใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัส นั่นเอง

                 ความสัมพันธ์ดังกล่าวในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ มีดังนี้
              
                1. ความสัมพันธ์ของความต้านทาน ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ คือ
                     - ความต้านทานของตัวต้านทาน ( R )   มีมุมของเวกเตอร์เท่ากับ 0°  
                     - ความต้านทานเชิงซ้อนของตัวเหนี่ยวนำหรือขดลวด ( XL )   มีมุมของเวกเตอร์เท่ากับ 90°
                     - ความต้านทานเชิงซ้อนของตัวเก็บประจุ ( XC )   มีมุมของเวกเตอร์เท่ากับ  - 90°
                - ความต้านทานรวมของวงจร  ( Z )   มีมุมของเวกเตอร์เท่ากับผลรวมของ R  และ X
                       ( X คือผลรวมของ  XL  และ  XC   มุมของเวกเตอร์ จะเป็น 90° หรือ  - 90° ขึ้นอยู่กับค่าของ XL  และ  X  ค่าใดมากกว่าก็จะมีมุมตามค่านั้น )   

                   จึงสามารถเขียนเฟสเซอร์ไดอะแกรม ได้ ดังรูป

                   ซึ่งจากทฤษฎีบทพีทาโกรัส จะทำให้สามารถหาค่าต่างๆ ทั้ง 4 ค่า ถ้าเราทราบค่าเพียง 2 ค่าจะทำให้สามารถหาค่าที่เหลือ 2 ค่าได้ ดังนี้
                 
 


                   







ความคิดเห็น