ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

วงจร R - L - C ผสม

จำนวนผู้เยี่ยมชมหน้านี้

               หมายถึง วงจรที่มี R - L - C ต่อกันอยู่ในแบบอนุกรม และแบบขนาน การคิดคำนวณค่าก็ให้คิดตามลักษณะของอนุกรม หรือขนาน แล้วแต่ลักษณะการต่อตามส่วนต่างๆ ของวงจร ตามตัวอย่าง
     
ภาพที่  1 แสดงวงจร R - L - C ต่อแบบผสม

จากวงจร จงหาค่า
              1. กระแสที่ไหล I1, I2 และกระแสทั้งหมด
              2. มุมของเฟส ( q )
              3. เพาเวอร์แฟคเตอร์ ( pf )
              4. กำลังไฟฟ้าจริง  ( P ) กำลังไฟฟ้าปรากฏ ( S ) และกำลัง ไฟฟ้าต้านกลับ ( Q )
              5. เขียนเฟสเซอร์ไดอะแกรมของแรงดันและกระแส
วิธีทำ
            ให้ส่วนที่กระแส  I1 ไหลผ่านมีความต้านทานรวมเท่ากับ Z1
              Z1 = R - jXC
                  = 20 - j25         ( Rectangular Form)
                  = 32 Ð-51.3°     (Polar Form)

            ให้ส่วนที่กระแส  I2 ไหลผ่านมีความต้านทานรวมเท่ากับ Z2  จะได้
              Z2 = R + jXL
                  = 30 + j40         ( Rectangular Form)
                  = 50 Ð53.1°     (Polar Form)


       1. หาค่ากระแสที่ไหล I1, I2 และกระแสทั้งหมด
\ I1 = E / Z1
        = 60 Ð0° / 32 Ð-51.3°
        = 1.875 Ð51.3° A    (Polar Form)
        = 1.17 + j1.46 A   ( Rectangular Form)

      I2 = E / Z2
        = 60 Ð0° / 50 Ð53.1°
        = 1.2 Ð-53.1° A    (Polar Form)
        = 0.72 - j0.96  A   ( Rectangular Form)

     It = I1 + I2
       =  1.17 + j1.46 + 0.72 - j0.96 
       = 1.89 + j0.5  A   ( Rectangular Form)

       =  1.96 Ð14.8°   A     (Polar Form)


นอกจากนี้เรายังสามารถหาค่ากระแสทั้งหมดได้จากสูตร
             It = EYt
           Yt = Y1 + Y2

      Y1 = 1 / Z1
          = 1 / 32 Ð-51.3° 
          = 0.03125 Ð51.3°  S
          = 0.01953 + j0.02438    S

      Y2 = 1 / Z2
          = 1 / 50 Ð53.1° 
          = 0.02 Ð-53.1°  S
          = 0.012 - j0.01599     S

\  Yt = 0.01953 + j0.02438 +  0.012 - j0.01599       
         = 0.03153 + j0.00839  S
         = 0.03263 Ð14.8° S

ดังนั้น  It = 60 Ð0° x 0.03263 Ð14.8° 

            = 1.96 Ð14.8°   A

        2. มุมของเฟส ( q )
      มุมของเฟส หมายถึง มุมที่แตกต่างกัน ของแรงดันที่จ่าย กับกระแสทั้งหมด
มุมของแรงดันที่จ่าย เท่ากับ 0 องศา
มุมของกระแสทั้งหมด เท่ากับ 14.8 องศา
   \ q = 0 + 14.8 = 14.8°  นำหน้า

        3. เพาเวอร์แฟคเตอร์ ( pf )
   Pf = cosq
      = cos 14.8° 
      = 0.967

         4. กำลังไฟฟ้าจริง  ( P ) กำลังไฟฟ้าปรากฏ ( S ) และกำลัง ไฟฟ้าต้านกลับ ( Q )
     หากำลังไฟฟ้าปรากฏ
       S = EIt
          = 60 x 1.96
          = 117.6 VA

    หากำลังไฟฟ้าจริง
       P = EItcosq
          = 60 x 1.96 x 0.967
          = 113.7 W

    หากำลังไฟฟ้าต้านกลับ
       Q = EItsinq
          = 60 x 1.96 x sin 14.8° 
          = 60 x 1.96 x 0.255
          = 30 VAR

              5. เขียนเฟสเซอร์ไดอะแกรมของแรงดันและกระแส

ภาพที่ 2 แสดงเฟสเซอร์ไดอะแกรมของแรงดันและกระแสของวงจร

หมายเหตุ  ในวงจรผสม จำเป็นต้องแปลงค่าของพารามิเตอร์ต่างๆ ให้อยู่ในรูปแบบ Rectangular Form และ Polar Form โดยรูปแบบ Rectangular Form ใช้สำหรับนำค่ามาบวกและลบกัน ส่วน Polar Form ใช้สำหรับนำมาคูณ และหารกัน  ซึ่งจะทำได้ง่ายกว่ารูปแบบอื่น
             การหาค่าต่าง ๆ ในวงจร อาจสามารถหาได้หลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับการฝึกฝนและชำนาญการ ของแต่ละบุคคล

           ดาวน์โหลด โปรแกรมแปลงรูปแบบจำนวนเชิงซ้อน  Online
           กลับไปทบทวน การเปลี่ยนรูปแบบจำนวนเชิงซ้อน

       

ความคิดเห็น