ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

แบบทดสอบวงจรผสม

แบบทดสอบเรื่อง วงจรผสม จำนวน 10 ข้อ

วิชา วงจรไฟฟ้ากระแสตรง ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
เรื่อง วงจรผสม จำนวน 10 ข้อ
โดย อ.ชลิต พานทอง แผนกวิชาช่างไฟฟ้ากำลัง วิทยาลัยสารพัดช่างพิจิตร
คำสั่ง เลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุด โดยใช้วงจรด้านบน


ข้อที่ 1)
ในภาพความต้านทานตัวใดต่ออนุกรมกัน?
   R1 และ R2
   R1 และ R3
   R3 และ R4
   R2 และ R4

ข้อที่ 2)
ที่จุด AB มีค่าความต้านทานเท่าใด?
   10 โอห์ม
   20 โอห์ม
   30 โอห์ม
   40 โอห์ม

ข้อที่ 3)
ความต้านทานรวมทั้งหมดมีค่าเท่าใด?
   10 โอห์ม
   20 โอห์ม
   30 โอห์ม
   40 โอห์ม

ข้อที่ 4)
จะมีกระแสไหลทั้งหมดในวงจรกี่แอมป์
   1 A
   2 A
   3 A
   4 A

ข้อที่ 5)
จะมีกระแสไหลผ่าน R1 กี่แอมป์
   1 A
   2 A
   3 A
   4 A

ข้อที่ 6)
จะมีกระแสไหลผ่าน R2 กี่แอมป์
   1 A
   1.5 A
   2
   2.5

ข้อที่ 7)
จะมีกระแสไหลผ่าน R3 กี่แอมป์
   0.5 A
   1 A
   1.5
   2 A

ข้อที่ 8)
จะมีแรงดันตกคร่อม R1 กี่โวลต์
   10 V
   20 V
   30 V
   40 V

ข้อที่ 9)
จะมีแรงดันตกคร่อม R2 กี่โวลต์
   20 V
   30 V
   40 V
   50 V

ข้อที่ 10)
จะมีแรงดันตกคร่อม R3 กี่โวลต์
   10 V
   20 V
   30 V
   40 V

ความคิดเห็น

คูณทวึ ดีไมล์ กล่าวว่า
คูณทวึ ดีไมล์
ครูตุ้ง กล่าวว่า
การหาค่าต่างๆ ทางไฟฟ้าในวงจรผสม จำเป็นต้องศึกษาเรื่องการหาค่าต่างๆ ทางไฟฟ้าในวงจรอนุกรม และการหาค่าต่างๆ ทางไฟฟ้าในวงจรขนาน เนื่องจากวงจรผสม คือวงจรที่มีทั้งวงจรอนุกรมและวงจรขนาน รวมอยู่ในวงจร ดังนั้นเราต้องมองวงจรให้เข้าใจว่าส่วนใดเป็นวงจรอนุกรม และส่วนใดเป็นวงจรขนาน ก็ให้คำนวณตามคุณสมบัติของวงจรอนุกรมและขนานเป็นส่วนๆ ไปครับ
ครูตุ้ง กล่าวว่า
สามารถศึกษาได้จากบทความการหาค่าต่างๆ ในวงจรผสม https://elearnkrutung.blogspot.com/2016/01/blog-post_14.html
หรือแหล่งความรู้ต่างๆ
Unknown กล่าวว่า
ง่ายมาก