วงจรรีโซแนนซ์ขนาน หมายถึงวงจรที่มีค่า BL = BC
ตามที่เราได้ศึกษาวงจรไฟฟ้ากระแสสลับแบบขนาน
จะพบว่า ค่าแอดมิตแตนซ์ ( Y ) จะมีค่าเท่ากับ
Y = G +j(BC – BL)
ดังนั้นหาก BC = BL จะทำให้หักล้างกันหมดพอดี จะมีผลทำให้ได้ค่า
Y = G
ซึ่งจะมีค่าความนำน้อยที่สุดในวงจรขนาน
หรือความต้านทานมากที่สุด ขณะเกิดรีโซแนนซ์
มีผลให้เกิดการไหลของกระแสมีน้อยที่สุด
q = 0°
ทำให้ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์มีค่าเท่ากับ
1 ทำให้วงจรมีประสิทธิภาพมากที่สุด
IC
= IL
ทำให้หักล้างกันหมด ทำให้กระแสทั้งหมดในวงจรต่ำสุดเท่ากับ
IR
ซึ่งการทำให้วงจรเกิดภาวะรีโซแนนซ์ในวงจรขนาน สามารถทำได้ 3 กรณี คือ
1. เปลี่ยนค่าความถี่ที่จ่ายให้กับวงจร
2. เปลี่ยนค่าตัว L
3. เปลี่ยนค่าตัว C
โดยเราสามารถเปลี่ยนค่าใดค่าหนึ่งใน
3 ค่า เพื่อทำให้เกิดภาวะรีโซแนนซ์ ในวงจรขนานได้ดังนี้
1.
กรณีเปลี่ยนความถี่
เมื่ออยู่ในภาวะรีโซแนนซ์
BC = BL
ถ้าเราให้ความถี่ขณะเกิดรีโซแนนซ์
=
fr
จากสูตร
BC = 2pfrC
ตัวอย่างที่
1 จากวงจร
จงหาค่าความถี่ที่ทำให้วงจรอยู่ในภาวะรีโซแนนซ์
จากสูตร
จากวงจร
L = 83 mH
C = 100 µF
แทนค่าในสูตร จะได้
ดังนั้นหากเราต้องการให้วงจรนี้อยู่ในภาวะรีโซแนนซ์ ด้วยการเปลี่ยนค่าความถี่
เราต้องเปลี่ยนค่าความถี่จาก 100 Hz เป็น 55.28 Hz
2. กรณีเปลี่ยนค่า C
ถ้าให้
ค่าตัวเก็บประจุที่ทำให้เกิดภาวะรีโซแนนซ์ = Cr
จากสูตร
ตัวอย่างที่
2 จากวงจร
ต้องเปลี่ยนค่าตัวเก็บประจุเป็นเท่าใด จึงจะทำให้วงจรอยู่ในภาวะรีโซแนนซ์
จากสูตร
จากวงจร
L = 80 mH
f = 60 Hz
แทนค่าในสูตร
จะได้
ดังนั้นหากเราต้องการให้วงจรนี้อยู่ในภาวะรีโซแนนซ์
ด้วยการเปลี่ยนค่าตัวเก็บประจุ เราต้องเปลี่ยนค่าจาก 45 µF เป็น 88.04 µF
3. กรณีเปลี่ยนค่า L
ถ้าให้
ค่าตัวเหนี่ยวนำที่ทำให้เกิดภาวะรีโซแนนซ์ = Lr
จากสูตร
ตัวอย่างที่
3 จากวงจร ต้องเปลี่ยนค่าตัวเหนี่ยวนำเป็นเท่าใด
จึงจะทำให้วงจรอยู่ในภาวะรีโซแนนซ์
จากสูตร
จากวงจร
C = 80 µF
f = 200 Hz
แทนค่าในสูตร
จะได้
ดังนั้นหากเราต้องการให้วงจรนี้อยู่ในภาวะรีโซแนนซ์
ด้วยการเปลี่ยนค่าตัวเหนี่ยวนำ เราต้องเปลี่ยนค่าจาก 40 mH เป็น 7.9
mH
การตรวจสอบว่าค่าที่เราหาได้ถูกต้องหรือไม่
สามารถตรวจสอบโดยการนำค่าที่หาได้ไปแทนค่าในสูตร เพื่อหาค่า BL และ BC หากถูกต้องค่าที่ได้จะต้องมีค่าเท่ากัน
สังเกตได้ว่าสูตรในการหาค่าในวงจรรีโซแนนท์ในแบบอนุกรมและขนาน
จะมีสูตรเหมือนกัน
ความคิดเห็น