ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

แบบทดสอบเรื่องพลังงานทดแทน

จำนวนผู้เยี่ยมชมหน้านี้

แบบทดสอบเรื่อง พลังงานทดแทน จำนวน 10 ข้อ
วิชาพลังงานและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง พลังงานทดแทน จำนวน 10 ข้อ
โดย อ. ชลิต พานทอง วิทยาลัยสารพัดช่างพิจิตร
คำสั่ง เลือก หรือ เติมคำตอบที่ถูกต้องที่สุด

ข้อที่ 1)
ประเทศไทยควรนำพลังงานจากแหล่งใดมาใช้เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนพลังงาน
   ความร้อนใต้พิภพ
   ลม
   แสงอาทิตย์
   คลื่น

ข้อที่ 2)
การผลิตไฟฟ้าพลังน้ำจากเขื่อนก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างไร
   มลพิษทางดิน
   มลพิษทางน้ำ
   มลพิษทางอากาศ
   ป่าไม้ถูกทำลาย

ข้อที่ 3)
ประเทศไทยควรสร้างโรงไฟฟ้าพลังน้ำจากเขื่อนเพิ่มอีกหรือไม่ เพราะเหตุใด
   ควรสร้าง เพราะเป็นการลงทุนต่ำ และได้ผลตอบแทนสูง
   ควรสร้าง เพราะจะมีรายได้จากการผลิตไฟฟ้าขายให้เพื่อบ้าน
   ไม่ควรสร้าง เพราะเป็นการทำลายสภาพแวดล้อมธรรมชาติโดยเฉพาะป่าไม้
   ไม่ควรสร้าง เพราะไม่มีผู้เชี่ยวชาญด้านการสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานน้ำจากเขื่อน

ข้อที่ 4)
พลังงานทดแทนใดที่ประเทศไทยนำมาใช้มากที่สุด
   พลังน้ำจากเขื่อน
   พลังงานจากน้ำพุร้อน
   พลังงานจากลม
   พลังงานแสงอาทิตย์

ข้อที่ 5)
ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์จากพลังงานความร้อนใต้พิภพ
   ผลิตกระแสไฟฟ้า
   ใช้ในการขับเคลื่อนยานพาหนะ
   พลังงานสำหรับห้องเย็น
   อบแห้งพืชผลทางการเกษตร

ข้อที่ 6)
การพัฒนาพลังงานทดแทนของประเทศไทยอยู่ในระดับใด
   การสำรวจแหล่งพลังงานทดแทน
   การประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบ
   ติดตั้งเครื่องต้นแบบเพื่อสาธิต
   การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์

ข้อที่ 7)
นโยบายพลังงานใดช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลนพลังงานได้อย่างยั่งยืน
   ใช้พลังงานหมุนเวียน
   สร้างจิตสำนึกด้านการอนุรักษ์พลังงาน
   ประชาชนมีส่วนร่วมพัฒนาพลังงาน
   ใช้พลังงานให้คุ้มค่า

ข้อที่ 8)
นักเรียนเห็นด้วยกับการสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในประเทศไทยหรือไม่ เพราะเหตุใด
   เห็นด้วย เพราะมีผู้เชี่ยวชาญด้านนิวเคลียร์
   ไม่เห็นด้วย เพราะประชาชนส่วนใหญ่ต่อต้านการสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
   เห็นด้วย เพราะมีวัตถุดิบในการผลิตไฟฟ้าจากนิวเคลียร์เป็นจำนวนมาก
   ไม่เห็นด้วย เพราะยังขาดเทคโนโลยีในการจัดการด้านผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

ข้อที่ 9)
เราหาพลังงานทดแทนเพื่อ ใช้แทนพลังงานอะไร
   น้ำมัน
   ถ่านหิน
   ก๊าซธรรมชาติ
   ถูกทุกข้อ

ข้อที่ 10)
เราคาดว่าพลังงานนำมันจะมีใช้ได้อีกประมาณกี่ปี
   10 ปี
   20 ปี
   40 ปี
   100 ปี


ความคิดเห็น